เกิดใหม่ (2501)
เกิดใหม่ (2501/1958) เกิดใหม่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดย บริการสากลภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากบทประพันธ์ของ กมล บุษปะเกศ
มังกรแดง (2501)

มังกรแดง (2501/1958) ลือชัย-อมรา ข้อความบนรูปโฆษณา ภาพยนตร์สหะนาวีไทย โดย สุพรรณ พราหมณ์พันธุ์ ผู้สร้าง เล็บครุฑ ขอนำเสนอ มังกรแดง เพื่อให้ลบสถิติรายได้...เล็บครุฑ ของตัวเอง มังกรแดง คือภาพยนตร์ไทยเรื่อง ที่ 2 จากการแสดงของ ลือชัย นฤนาท ดาราลักยิ้ม ที่ได้รับรางวัลจากประชาชน มังกรแดง คือภาพยนตร์ไทยเรื่องหลังสุด จากผลงานของ สุพรรณ พราหมณ์พันธุ์ ที่ประชาชนเชื่อถือแล้วจาก เล็บครุฑ ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง สร้างบท ปรีชา ทรัพย์พระวงศ์ ถ่ายภาพ 

 
เทวรูปหยก (2501)
เทวรูปหยก (2501/1958) เทวรูปหยก เป็นภาพยนตร์สี 16 มม.ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดย เนรมิตภาพยนตร์ โดยมี จรี อมาตยกุล เป็นผู้อำนวยการสร้าง กำกับการแสดงโดยครูเนรมิต (อำนวย กลัสนิมิ) ถ่ายภาพโดย ไพรัช สังวริบุตร ลำดับภาพโดย ส.อาสนจินดา และให้เสียงพากย์โดย ม.ล. รุจิรา อิศรางกูร - มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา, พันคำ (พร้อมสิน สีบุญเรือง), จุรี โอศิริ และ เสน่ห์ โกมารชุน ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ไปถ่ายทำถึงฮ่องกงและมาเก๊าตลอดเรื่อง
หนึ่งต่อเจ็ด (2501)
หนึ่งต่อเจ็ด (2501/1958) หนึ่งต่อเจ็ด เป็นภาพยนตร์สี 16 มม.ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 เป็นผลงานการกำกับของ ส.อาสนจินดา เป็นภาพยนตร์ตอนแรกในภาพยนตร์ชุด หนึ่งต่อเจ็ด ภาพยนตร์ภาคต่อของไทยที่ได้รับการสร้างอย่างต่อเนื่องมากที่สุดในอดีต โดยเป็นเรื่องราววีรกรรมการกอบกู้ชาติไทย เชือกกล้วย กางเกงแดง กลายเป็นเอกลักษณ์ของจ่าดับ จำเปาะ ที่รับบทโดย ส.อาสนจินดา ซึ่งเป็นตัวละครหลักของภาพยนตร์เรื่องนี้
หลินฟ้า (2501)
หลินฟ้า (2501/1958) หลินฟ้า เป็นภาพยนตร์สี 16 มม.ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดย พัฒนาการภาพยนตร์ โดยมี เมธี พูนบำเพ็ญ เป็นผู้อำนวยการสร้าง กำกับการแสดงโดย ศิริ ศิริจินดา ถ่ายภาพโดย ชเนศร์ จรัสตระกูล กำกับภาพ-กำกับบทโดย จรัญ พันธ์ชื่น ฝ่ายเทคนิคโดย บรรจง มาลยมณฑล ถ่ายภาพนิ่งโดย วิบูลย์ ชนะศึก และให้เสียงพากย์โดย เสน่ห์ - เสถียร - ประไพ
เซียนดำ (2501)
ดอกฟ้าในมือโจร (2501)
ดอกฟ้าในมือโจร (2501/1958) ดอกฟ้าในมือโจร เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 เป็นผลงานการกำกับของ ส.อาสนจินดา สร้างโดย สุจินต์ภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากบทประพันธ์ของ อดุลย์ ราชวังอินทร์ และมีคำโปรยว่า จึงเป็นภาพยนตร์เรื่องที่สี่ที่..ลือชัย นฤนาท ได้รับอนุญาตให้แสดงจากผู้จัดการของเขา เพราะลือชัย จะไม่มีโอกาสได้แสดงภาพยนตร์บ่อยครั้งนัก
Placeholder
ทรามวัยกับจอมโหด (2501/1958) ทรามวัยกับจอมโหด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501
นักรักนักสู้ (2501)
นักรักนักสู้ (2501/1958) ลือชัย-ประจวบ-สุรวดี ข้อความบนใบปิด เสือสองตัวจะอยู่ถ้ำเดียวกันไม่ได้! แต่...บูรพาศิลป์ภาพยนตร์ ได้ค้านคำกล่าวนั้นแล้ว โดยนำ... ลือชัย นฤนาท พระเอกลักยิ้ม พบ ประจวบ ฤกษ์ยามดี ผู้ร้ายผู้ดี นักรักนักสู้ พรั่งพร้อมด้วย ราชันย์ กาญจนมาศ, ชด ชัชวาลย์, เลอสรรค์ วิรยะศิริ, สมถวิล มุกดาประกร, โชติ พุกกะพันธุ์, ต่อชัย ภู่ชมพู, แดน ดำรงศักดิ์, ปกรณ์ เกษตรชนม์, ดอกดิน กัญญามาลย์, ชูศรี โรจนประดิษฐ์ และขอเสนอ 4 นางเอกสาววัยรุ่น พรพิไล สุขะศิริวัฒน์, คัชรินทร์ นิรมล, ชนินทร เพชรบุญศรี, สุรวดี เบอร์เดน ประเทือง ศรีสุพรรณ-ปรีชา ทรัพย์พระวงศ์ ถ่ายภาพ ถาวร สุวรรณ สร้างบท วิชัย ปาลวัฒน์วิไชย กำกับการแสดง ฉายแน่นอนที่โรงหนังเอ็มไพร์ ปลายเดือนกันยายนนี้ เสน่ห์ โกมารชุน กับ จุรี โอศิริ พากย์ (ที่มา :Thai Movie Posters)
พล นิกร กิมหงวน ตอน เวทีถล่มและพิชิตเมีย (2501)
พล นิกร กิมหงวน ตอน เวทีถล่มและพิชิตเมีย (2501/1958) พล นิกร กิมหงวน ตอน เวทีถล่มและพิชิตเมีย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างจากนิยายชุดเรื่องดังของ ป.อินทรปาลิต สร้างโดย โยคีสถาน สี่พระยา แผนกภาพยนตร์ โดยมี วิรัช พึ่งสุนทร สร้างบทและกำกับการแสดง
Placeholder
เสือซ่อนเล็บ (2501/1958) เสือซ่อนเล็บ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501
Placeholder
หนักแผ่นดิน (2501/1958) หนักแผ่นดิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501
ม่วยจ๋า (2501)
ม่วยจ๋า (2501/1958) ม่วยจ๋า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดย มิตรวัฒนาภาพยนตร์ โดยมี อุดม ฤทธิดิเรก เป็นผู้ดำเนินงานสร้าง กำกับการแสดงโดย ส.อาสนจินดา - อนุมาศ บุนนาค และถ่ายภาพโดย เนื่อง แผงจันทึก ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างมาจากบทเพลงของครูสุรพล โทณวณิก ที่ขับร้องโดย นริศ อารีย์ ปัจจุบันภาพยนตร์เรื่องนี้มีเพียงกากฟิล์มม้วนเดียวที่เหลือมาประมาณ 13 นาที
ลบลายเสือ (2501)
ลบลายเสือ (2501/1958) ลบลายเสือ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดยนรสิงห์ภาพยนตร์ โดยมี เพ็ญประภา อรรถจินดา เป็นผู้อำนวยการสร้าง กำกับการแสดงโดย อธึก อรรถจินดา และถ่ายภาพโดย อภิชาติ เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่ ประจวบ ฤกษ์ยามดี แสดงนำเป็นพระเอกเต็มตัว
สองพี่น้อง (2501)
ทหารเสือกรมหลวงชุมพร (2501)
ทหารเสือกรมหลวงชุมพร (2501/1958) ทหารเสือกรมหลวงชุมพร เป็นภาพยนตร์สี 16 มม.ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 สร้างโดย ชุมพรศิลป์ภาพยนตร์ กำกับการแสดงโดย พันคำ (พร้อมสิน สีบุญเรือง) ถ่ายภาพโดย วิเชียร วีระโชติ-ธีระ แอคะรัตน์ และกำกับศิลป์โดย อุไร ศิริสมบัติ ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากบทประพันธ์ของ สุวัฒน์ วรดิลก