จันทร์เพ็ญ (2515)
จันทร์เพ็ญ (2515/1972) ข้อความบนใบปิด ศรีสยามโปรดั๊คชั่น ผู้สร้าง “หนึ่งนุช” เสนอ 35 ม.ม.ซูเปอร์ซีเนมาสโคป สีอิสต์แมน เสียงในฟิล์ม จันทร์เพ็ญ ของ พร น้ำเพชร นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี อรัญญา นามวงษ์ เนาวรัตน์ วัชรา ชุมพร เทพพิทักษ์, อรสา อิศรางกูร, ล้อต๊อก, ศรีสละ ทองธารา ปรีดา จุลละมณฑล และ ดิ อิมพอสสิเบิ้ล ร่วมแสดงตลอดเรื่องเป็นครั้งแรก บันลือ อุตสาหจิต อำนวยการสร้าง สมาน ทองทรัพย์สิน ถ่ายภาพ ส.เนาวราช กำกับการแสดง มหาพิชัยภาพยนตร์ จัดจำหน่าย
วังบัวบาน (2515)
วังบัวบาน (2515/1972) ข้อความบนใบปิด นครพิงค์ภาพยนตร์ เสนอเรื่องชีวิตรักอมตะ ในระบบอุลตร้าสโคป 35 ม.ม.เสียงในฟิล์ม สีอิสต์แมน จากเรื่องจริงของสาวเมืองเหนือ ผู้ซื่อสัตย์ถือมั่นต่อความรักยิ่งชีวิตตัวเอง และเมื่อถูกกามเทพเล่นตลก เธอก็ตกเป็นเหยื่อมัจจุราช สร้างประวัติฝังใจสาวเหนือมานานกว่า 20 ปี นั่นคือ... วังบัวบาน จากบทประพันธ์ของ มาลินี สมบัติ เมทะนี สุทิศา พัฒนุช ชนะ ศรีอุบล, เมตตา รุ่งรัตน์, ธัญญา ธัญญรักษ์, เยาวเรศ นิสากร, มาลี เวชประเสริฐ, สิงห์ มิลินทราศัย, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม, หม่อมชั้น พวงวัน, ท้วม ทรนง, ชูศรี มีสมมนต์ พร้อมทั้งลูกทุ่งสาว เรียม ดาราน้อย, ชาญชัย บัวบังศร 5 เพลงเอก จากนักประพันธ์เพลงแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ไพบูลย์ บุตรขัน, สมาน กาญจนผลิน, อรุณ หงสวีณะ, สนิท ศ., พีระ ตรีบุปผา กมลวรรณ-สรรเพชญ อำนวยการสร้าง ส.คราประยูร กำกับการแสดง โสภณ เจนพานิช ถ่ายภาพ กมลวรรณ วิเศษประภา ลำดับภาพ ปฤษณา-มานพ น้อยวิจารณ์ สร้างบท ช.พิริยะ ฟิล์ม จัดจำหน่าย
อ้อมอกเจ้าพระยา (2515)

อ้อมอกเจ้าพระยา (2515/1972) เรื่องราวความรักต่างเชื้อชาติของ "กล้า" กัปตันเรือสินค้าชาวไทยที่พบรักกับ "เซาะไน" หญิงชาวจีนในฮ่องกง ทว่ามีเหตุให้ทั้งสองต้องพลัดพรากกัน ด้วยความรักเซาะไนพยายามมาตามหากล้าถึงกรุงเทพ เธอต้องผจญวิบากกรรมมากมายมีเพียงเป้าหมายเดียวคือการตามหาชายคนรักให้เจอเท่านั้น เรื่องราวความรักต่างเชื้อชาติของ กล้า กัปตันเรือสินค้าชาวไทยที่พบรักกับ เซาะไน หญิงชาวจีนในฮ่องกงซึ่งเธอแอบหนีเตี่ยมาใช้ชีวิตตามลำพัง แต่แล้ววันหนึ่ง เซาะไน ก็ถูกเตี่ยของเธอพากลับบ้าน โดยที่กล้าไม่รู้เรื่อง ทำให้กล้าเสียใจมากตัดสินใจกลับเมืองไทย ด้วยความรักเซาะไนจึงหนีเตี่ยตามหากล้าที่ไทยแต่ต้องผิดหวังเมื่อพบว่ากล้าลาออกจากงานแล้ว ด้วยความสิ้นหวังเซาะไนตัดสินใจจะฆ่าตัวตาย สุดท้ายแล้วเซาะไนจะตามหากล้าพบหรือไม่

หยาดฝน (2515)
หยาดฝน (2515/1972) ข้อความบนใบปิด เกษมสุขภาพยนต์ เสนอ หนังแบบไทย-ไทย เรื่องแบบชาวบ้าน ชาวบ้าน ดูง่าย-ง่าย สบายตา ตลกเฮฮา เพลงเพราะเพราะ หยาดฝน ของ โอสถ จันทนพ 35 ม.ม.ซีเนมาสโคป สี เสียงในฟิล์ม นำโดย ไชยา สุริยัน รักชนก จินดาวรรณ บุปผา สายชล ศรีไพร ใจพระ สังข์ทอง สีใส สรวง สันติ, วงศ์ทอง ผลานุสนธิ์, จอมใจ จรินทร์, รุจิรา-มารศรี อิศรางกูร, สมชาย สามิภักดิ์, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม, ดาวน้อย ดวงใหญ่, สมถวิล มุกดาประกร, สุดใจ ศรีเบญจา, อุ่นเรือน ธรรมานนท์ ฟัง 14 เพลงเอก จากผลงานของ ไพบูลย์ บุตรขัน, สรวง สันติ, ชาญชัย บัวบังศร แต่งเพลง กำกับการแสดงโดย ศิริ ศิริจินดา อำนวยการสร้างโดย วงศ์ทอง ผลานุสนธิ์ ถ่ายภาพโดย จุรัย เกษมสุวรรณ ละโว้ จัดจำหน่าย
เชียงตุง (2515)

เชียงตุง (2515/1972) ข้อความบนใบปิด กัญญามาลย์ภาพยนตร์ ในความอุปถัมภ์ของประชาชน โดย ดอกดิน ศิลปินของท่าน เสนอ เชียงตุง ของ วลัย รัชนี ภาพยนตร์ชีวิตรักสองสมัย หวานสุดหัวใจ ฟังเพลงใหม่ สนุกเสนาะ หัวเราะเฮฮา นำโดย สมบัติ เมทะนี เพชรา เชาวราษฎร์ ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ชฎาพร วชิรปราณี, แมน ธีระพล, ชุมพร เทพพิทักษ์, โขมพัสตร์ อรรถยา, ดลนภา โสภี, สิงห์ มิลินทราศัย, พงษ์ลดา พิมลพรรณ, ธัญญา ธัญญรักษ์, จุรี โอศิริ, น้อย, เปี๊ยก อรสา อิศรางกูร และ ดอกดิน กัญญามาลย์ ฟัง “ชินกร” นักร้องแผ่นเสียงทองคำ และ กิ่งดาว จันทร์สวัสดิ์ บรรจง กัญญามาลย์ อำนวยการสร้าง ศานิต รุจิรัตนตระกูล ถ่ายภาพ ดอกดิน กัญญามาลย์ กำกับการแสดง กัญญามาลย์ภาพยนตร์ จัดจำหน่าย

 
ชาละวัน (2515)

ชาละวัน (2515/1972) ข้อความบนใบปิด โรงถ่ายภาพยนตร์ไชโย เสนอ จากนิทานโบราณของไทย มาเป็นภาพยนตร์ ชาละวัน ดารานำแสดง สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์, สุพรรณ บูรณะพิมพ์, ดามพ์ ดัสกร, ปรีดา จุลละมณฑล, มาลาริน บุนนาค, รัตนาภรณ์น้อย, จอมใจ จรินทร์, มารศรี มุกดาประกร, ขวัญตา บัวเปลี่ยนสี, จำรูญ หนวดจิ๋ม, เชาว์ แคล่วคล่อง, สมพงษ์ พงษ์มิตร ฯลฯ ป.พิมล สร้างบท ประยูร จรรยาวงษ์ นักเขียนการ์ตูนระดับโลก ให้คำปรึกษา เทพรัตน์ฟิล์ม จัดจำหน่าย 

 
สิงห์สยามถล่มคาราเต้ (2515)
สิงห์สยามถล่มคาราเต้ (2515/1972) ข้อความบนใบปิด SEA เซ้าท์อีสต์เอเชียฟิล์ม เสนอ สมชาย อัตตานุรักษ์ อำนวยการสร้าง เรื่องแรกที่ประกาศศักดิ์ศรีมวยไทย ปราบมวยอื่นจนสยบเศียร.. สิงห์สยามถล่มคาราเต้ THE BLOODY FIGHT 35 ม.ม.สโคป สี เสียงไทยในฟิล์ม นำโดย ภาวนา ชนะจิต อภิเดช ศิษย์หิรัญ เติ้งกวงหยง, ไป่อิง, อู๋อิงอิง, ถังชิง
แม่ปลาบู่ (2515/1972) ข้อความบนใบปิด วนิชศิลปภาพยนตร์ โดย อนันต์ ชลวนิช เสนอ ความรักของแม่ที่ยิ่งใหญ่ เสียสละ ห่วงใยผูกพัน แม้ร่างแม่นั้นจะเป็นเพียง... แม่ปลาบู่ (ปลาบู่ทอง) นิทานพื้นบ้านของไทย 35 ม.ม.สี เสียงในฟิล์ม แก้วฟ้า จัดทำละครวิทยุ พัลลภ พรพิษณุ เยาวเรศ นิศากร ชฎาพร วชิรปราณี, สุวิน สว่างรัตน์, น้ำเงิน บุญหนัก, พูนสวัสดิ์ ธีมากร, พิภพ ภู่ภิญโญ, วิมล, ปราณีต คุ้มเดช, ทศ, มาเรีย เกตุเลขา ฯลฯ 3 ดาราวัยรุ่นผู้น่ารัก ชาลี อินทรวิจิตร-สมาน กาญจนผลิน สร้างเพลง ประสม สง่าเนตร์ สร้างบท ก. เก่งทุกทาง สร้างฉาก มานิต สัมมาบัติ ถ่ายภาพ อี่ ตัณฑพานิช อำนวยการสร้าง ไพรัช สังวริบุตร กำกับภาพ-กำกับการแสดง *เกร็ด -ใบปิดวาดโดย ชวนะ -ในปี 2510 นิทานพื้นบ้านเรื่อง ปลาบู่ทอง ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์ (ในยุคแรกจะเรียก ภาพยนตร์โทรทัศน์ ไม่ใช่ละคร เพราะถ่ายด้วยฟิล์ม และใช้นักพากย์ เหมือนหนังโรง) ออกอากาศทาง ช่อง 7 เป็นหนังโทรทัศน์เรื่องแรกของช่อง 7 (ช่อง 7 เปิดสถานีในปี 2510) และของ ดาราฟิล์ม กำกับโดย ไพรัช สังวริบุตร บทโดย ประสม สง่าเนตร นำแสดงโดย พัลลภ พรพิษณุ กับ เยาวเรศ นิศากร ซึ่งมาจากหนังโรงทั้งคู่ ภายหลังกลายเป็นคู่พระ-นางยอดฮิตจากภาพยนตร์โทรทัศน์แนวจักรๆวงศ์ๆ) มีเพลงนำเรื่องขับร้องโดย เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 นำมาทำเป็นภาพยนตร์ 35 มม. ออกฉายในชื่อเรื่อง "แม่ปลาบู่" โดย วนิชศิลปภาพยนตร์ ของ อนันต์ ชลวนิช ออกฉายวันที่ 14 พฤศจิกายน 2515 โดยฉายที่โรงภาพยนตร์นิวบรอดเวย์ (ความจริงออกโฆษณาทางสื่อตั้งแต่ปี 2512 แล้ว แต่มีปัญหาบางประการทำให้ต้องเลื่อนการฉายไปเรื่อยๆ ได้ฉายก็ปี 2515) #ThaiMoviePosters
เทพบุตรที่รัก (2515)
เทพบุตรที่รัก (2515/1972) เทพบุตรที่รัก เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2515
หัวใจปรารถนา (2515)
หัวใจปรารถนา (2515/1972) ข้อความบนใบปิด พจนาภิรมย์ภาพยนตร์ เสนอ หัวใจปรารถนา บทประพันธ์ของ ส.คุปตาภา สมบัติ เมทะนี เพชรา เชาวราษฎร์ พบพระเอกใหม่ เอก อัมรินทร์ เพลงเอก 35 ม.ม. 7 เพลง ร่วมด้วย วิไลวรรณ วัฒนพานิช, อดุลย์ ดุลยรัตน์, รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง, อรสา อิศรางกูร, ฑัต เอกฑัต, ม.ร.ว.ประสิทธิศักดิ์ สิงหรา, มนัส บุณยเกียรติ, แป้น ปลื้มสระไชย, ไพร, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม, ชื้นแฉะ, ดาวน้อย ดวงใหญ่, ทองถม, มาลาริน บุนนาค, แอน, ด.ช.เอกราช กวี เกียรตินันท์ ถ่ายภาพ นำดี วิตตะ สร้าง-กำกับ รัตนาชัยฟิล์ม จัดจำหน่าย
เลือดแม่ (2515)
เลือดแม่ (2515/1972) ข้อความบนใบปิด กรเทวาภาพยนตร์ โดย วินิจ ภักดีวิจิตร ผู้กำกับพลังหนุ่ม เลือดแม่ ของ สราวุฒิ สมบัติ เมทะนี เพชรา เชาวราษฎร์ พร้อมด้วย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง, อนุชา รัตนมาลย์, สิงห์ มิลินทราศัย, โยธิน เทวราช, เทอด ดาวไท, มาลาริน บุนนาค, สีเทา, วราภรณ์, สยาม, สังข์ทอง สีใส 7 เพลงเอกไพเราะ 35 ม.ม. วินิจ ภักดีวิจิตร อำนวยการสร้าง-กำกับการแสดง พิพัฒน์ พยัคฆะ ถ่ายภาพ