แดง ศัลยา สุขะนิวัตติ์

ศัลยา สุขะนิวัตติ์ ชื่อเล่น แดง เป็นนักเขียนบทละครโทรทัศน์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงจากการเขียนบทโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมหลายเรื่อง ศัลยามีชื่อเสียงจากการเขียนบทละครเรื่อง คู่กรรม, นางทาส, สายโลหิต, ดอกส้มสีทองที่ มีเนื้อหารุนแรงซึ่งสะท้อนปัญหาของสถาบันครอบครัว และเขียนบทละครเรื่อง บุพเพสันนิวาส นอกจากนี้ ศัลยา ยังได้มีโอกาสเป็นนักแสดงรับเชิญในละครอยู่บ้าง เช่น หนุ่มทิพย์ (2530), เหตุเกิดที่ สน. (2533), ริษยา (2534) และ รักของฟ้า (2544) ศัลยาเป็นผู้ที่มีความสนใจในวรรณกรรมและการอ่านตั้งแต่เด็ก สำเร็จการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มเขียนบทละครจากการชักชวนของไพรัช สังวริบุตร (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ภาพยนตร์และละคร ปี 2547) บทละครเรื่องแรกที่เขียนคือ หลวงตา เป็นละครสั้น ได้รับผลตอบรับที่ดี ศัลยาได้เขียนบทละครหลายเรื่องให้กับทางช่อง 7 หลากหลายประเภท ทั้งละครสะท้อนสังคมสร้างสรรค์ครอบครัว ละครพื้นบ้าน ละครร่วมสมัย แต่ส่วนใหญ่ผู้ชมคนไทยมักคุ้นเคยกับผลงานที่เป็นละครอิงประวัติศาสตร์ เช่น คู่กรรม นางทาส สายโลหิต และ แผลเก่า

• นามปากกา : ศัลยา, พัชร, แดนดาว, ทองตรา

นักเขียน

นักเขียน

2528

กิ่งมัลลิกา

- บทโทรทัศน์
2528

มัสยา

- บทโทรทัศน์
2529

แหวนทองเหลือง

- บทโทรทัศน์
2530

บ้านทรายทอง

- บทโทรทัศน์
2530

พจมาน สว่างวงศ์

- บทโทรทัศน์
2530

สกาวเดือน รัศมีแข

- บทโทรทัศน์
2530

แก้วหน้าม้า

- บทโทรทัศน์
2531

แผลเก่า

- บทโทรทัศน์
2531

อีสา-รวีช่วงโชติ

- บทโทรทัศน์
2531

จำเลยรัก

- บทโทรทัศน์
2531

นางสิบสอง

- บทโทรทัศน์
2531

พระสุธน-มโนราห์

- บทโทรทัศน์
2532

อยู่เพื่อรัก

- บทโทรทัศน์
2532

เมียหลวง

- บทโทรทัศน์
2532

ปริศนาของเวตาล

- บทโทรทัศน์
2533

มณีร้าว

- บทโทรทัศน์
2533

คู่กรรม

- บทโทรทัศน์
2533

กนกลายโบตั๋น

- บทโทรทัศน์
2534

ไผ่แดง

- บทโทรทัศน์
2534

ตะวันชิงพลบ

- บทโทรทัศน์
2534

ริษยา

- บทโทรทัศน์
2535

เมืองโพล้เพล้

- บทโทรทัศน์
2535

ละครเร่

- บทโทรทัศน์
2536

ผยอง

- บทโทรทัศน์
2536

เกิดแต่ตม

- บทโทรทัศน์
2536

นางทาส

- บทโทรทัศน์
2537

ผ้าทอง

- บทโทรทัศน์
2537

ศิลามณี

- บทโทรทัศน์
2538

คือหัตถาครองพิภพ

- บทโทรทัศน์
2538

สุดสายป่าน

- บทโทรทัศน์
2538

สายโลหิต

- บทโทรทัศน์
2539

111 (ตองหนึ่ง)

- บทโทรทัศน์
2539

ญาติกา

- บทโทรทัศน์
2539

มงกุฎดอกส้ม

- บทโทรทัศน์
2539

รัตนโกสินทร์

- บทโทรทัศน์
2540

ดวงใจพิสุทธิ์

- บทโทรทัศน์
2540

นิรมิต

- บทโทรทัศน์
2540

ทัดดาวบุษยา

- บทโทรทัศน์
2540

การะเกด

- บทโทรทัศน์
2540

ตะวันทอแสง

- บทโทรทัศน์
2540

ทายาทป๋องแป๋ง

- บทโทรทัศน์
2541

ลูกตาลลอยแก้ว

- บทโทรทัศน์
2541

คู่เขยคู่ขวัญ

- บทโทรทัศน์
2541

จำเลยรัก

- บทโทรทัศน์
2541

อีสา-รวีช่วงโชติ

- บทโทรทัศน์
2541

ผู้หมวดป๊อกแป๊ก

- บทโทรทัศน์
2541

กามเทพเล่นกล

- บทโทรทัศน์
2542

ข้ามสีทันดร

- บทโทรทัศน์
2542

ลูกหว้า

- บทโทรทัศน์
2543

ลูกไม้ไกลต้น

- บทโทรทัศน์
2543

รากนครา

- บทโทรทัศน์
2543

นางเอกหลังบ้าน

- บทโทรทัศน์
2543

นางสิบสอง

- บทโทรทัศน์
2543

พระสุธน-มโนราห์

- บทโทรทัศน์
2544

ทัณฑ์กามเทพ

- บทโทรทัศน์
2544

แก้วหน้าม้า

- บทประพันธ์
2545

สาวน้อย

- บทโทรทัศน์
2545

รอยไถ

- บทโทรทัศน์
2546

พรพรหมอลเวง

- บทโทรทัศน์
2547

ฟ้าใหม่

- บทโทรทัศน์
2548

วีรบุรุษกองขยะ

- บทโทรทัศน์
2549

หลงเงาจันทร์

- บทโทรทัศน์
2550

ปู่โสมเฝ้าทรัพย์

- บทโทรทัศน์
2553

มงกุฎดอกส้ม

- บทโทรทัศน์
2554

ดอกส้มสีทอง

- บทโทรทัศน์
2554

เคหาสน์สีแดง

- บทโทรทัศน์
2555

ดอกโศก

- บทโทรทัศน์
2555

กว่าจะรู้เดียงสา

- บทโทรทัศน์
2556

ฟ้าจรดทราย

- บทโทรทัศน์
2556

แค้นเสน่หา

- บทโทรทัศน์
2556

ภาพอาถรรพณ์

- บทโทรทัศน์
2557

ทรายสีเพลิง

- บทโทรทัศน์
2561

สายโลหิต

- บทโทรทัศน์
2561

บุพเพสันนิวาส

- บทโทรทัศน์
2562

สัตยาธิษฐาน

- บทโทรทัศน์
2562

กลลวงทวงหนี้รัก

- บทโทรทัศน์
2565

ซ่านเสน่หา

- บทโทรทัศน์
2566

พรหมลิขิต

- บทโทรทัศน์
2567

เมืองแก้ว

- บทโทรทัศน์